GMP อย. ฉบับที่ 420
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ.2563
ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร
Good Distribution Practice (GDP)
หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการกระจายยา Good Distribution Practice; GDP เป็นส่วนหนึ่งของการประกันคุณภาพเพื่อให้เกิดความมั่นใจได้ว่าคุณภาพของผลิตภัณฑ์ยายังคงอยู่ตลอดห่วงโซ่ผลิตภัณฑ์ยา ตั้งแต่ผู้ผลิต ผู้นำหรือสั่งยาเข้ามาในราชอาณาจักรจนถึงสถานที่ขายยา หรือบุคคลที่ได้รับอนุญาตหรือได้รับสิทธิในการจัดส่งผลิตภัณฑ์สู่สาธารณะ
Good Hygiene Practice (GHPs)
คือ มาตรฐานสุขลักษณะที่ดีในการผลิตอาหาร หรือ จี เอช พี (GHP, Good Hygiene Practice) เป็นมาตรฐานด้าน ความปลอดภัยทางอาหารที่ประยุกต์ใช้หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับกิจกรรมการผลิตอาหาร
HACCP Hazard Analysis
Critical Control Point (HACCP)
ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมในการผลิตอาหาร ซึ่งจัดเป็นมาตรฐานในการส่งออกผลิตภัณฑ์ทั่วโลก เพื่อรับรองคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์อาหาร
ISO 9001:2015
Quality Management Systems
เป็นมาตรฐานสากลที่องค์กรธุรกิจทั่วโลกให้ความสำคัญ เพื่อความเป็นเลิศทางด้านคุณภาพ และความมีประสิทธิภาพของการดำเนินงานภายในองค์กร
ISO 14001:2015
Environmental management Systems
มาตรฐานสากลฉบับนี้มีเจตนารมณ์เพื่อใช้สำหรับองค์กรที่ต้องการบริหารจัดการกับความรับผิดชอบด้านสิ่งแวดล้อมของตนอย่างเป็นระบบ โดยใช้ข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้ในมาตรฐานระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นแนวทางในการปฏิบัติ เพื่อตอบสนองต่อความคาดหวังของระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม
ISO 13485:2016 Medical devices
Quality management systems
เป็นระบบมาตรฐานการจัดการด้านคุณภาพซึ่งครอบคลุมตั้งแต่การออกแบบ พัฒนา ผลิต และ ขาย เครื่องมือทางการแพทย์ข้อกาหนดของระบบนี้มีการน าไปใช้ในระดับนานาชาติ
ISO 45001:2018
Occupational Health and Safety
มาตรฐานระดับสากลใหม่เพื่อการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่จะมาแทนมาตรฐาน OHSAS 18001 ที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน
IATF 16949:2016
QUALITY MANAGEMENT SYSTEM FOR AUTOMOTIVE INDUSTRY
เป็นมาตรฐานข้อกำหนดเฉพาะทางเทคนิค (Technical Specification: TS) ที่เป็น แนวทางของข้อกำหนดระบบบริหารงานคุณภาพของอุตสาหกรรมยานยนต์ทั่วโลก
ISO 22000:2018
Food Safety Management System
ระบบการจัดการด้านความปลอดภัยของอาหารเป็นมาตรฐานระบบบริหารความปลอดภัยของอาหารในระดับสากล โดยเป็นข้อกำหนดสำหรับองค์กรในห่วงโซ่อาหาร ซึ่งจะทำให้ธุรกิจที่อยู่ในห่วงโซ่อาหาร
ISO 50001:2018
Energy Management Systems
คือ ระบบการจัดการพลังงานตามมาตรฐานสากล หรือเรียกอย่างย่อว่า EnMS ระบบแรกในโลกที่พัฒนาขึ้นจากมาตรฐานระดับชาติและภูมิภาคต่าง ๆ ซึ่งมาตรฐาน ISO 50001 มีวัตถุประสงค์ในการส่งเสริมให้องค์กรดำเนินการปรับปรุงสมรรถนะพลังงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดต้นทุนด้านพลังงาน ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และ อื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ISO/IEC 27001:2013
Information security management systems
เป็นมาตรฐานสากลเพียงมาตรฐานเดียวที่สามารถตรวจประเมินได้สำหรับระบบการจัดการความปลอดภัยของข้อมูล มาตรฐานนี้จะให้การรับรองว่าองค์กรของท่านได้ดำเนินงานโดยสอดคล้องกับกฎหมาย กฎระเบียบ ข้อบังคับ และข้อกำหนดตามสัญญาอันเกี่ยวเนื่องกับข้อมูลสำคัญ
ISO/IEC 20000-1:2018
มาตรฐานความปลอดภัยของข้อมูล
ISO/IEC 20000-1:2018 คือ การรับรองการบริหารการจัดการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ISO/IEC 17025:2017
Testing And Calibration Laboratories
มาตรฐานสากลซึ่งเป็นการประเมินความสามารถทางวิชาการของห้องปฏิบัติการ ISO/IEC 17025 ครอบคลุมทุกด้านของการบริหารจัดการห้องปฏิบัติการ ตั้งแต่การเตรียมตัวอย่างถึงความชำนาญในการวิเคราะห์ทดสอบ ถึงการเก็บบันทึกและการรายงานผล
มาตรฐานแรงงานไทย
(มรท. 8001 - 2553)
คือ กฎเกณฑ์ การปฏิบัติ การใช้แรงงานเกี่ยวกับสภาพการจ้างและสภาพการทำงาน เช่น ค่าจ้าง ชั่วโมงทำงาน วันหยุด และความปลอดภัยในการทำงาน การมีมาตรฐานแรงงาน เพื่อให้แรงงานได้รับการคุ้มครองอย่างทัดเทียมเสมอภาค ก่อให้เกิดคุณภาพชีวิต มีความปลอดภัย มีแรงงานสัมพันธ์ที่ดี และมีขวัญกำลังใจในการทำงาน
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
(มอก.)
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ได้มีการกำหนดขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้แก่ผู้ผลิตในการผลิตสินค้าให้ได้คุณภาพและแสดงเครื่องหมายผลิตภัณฑ์ เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยให้แก่ผู้บริโภค
BRC
The British Retail Consortium
ระบบคุณภาพสำหรับธุรกิจค้าปลีกอาหาร สมาคมผู้ประกอบธุรกิจค้าปลีกแห่งสหราชอาณาจักร โดยวัตถุประสงค์หลักในการจัดทำระบบมาตรฐานนี้ก็เพื่อลดการซ้ำซ้อนจากการตรวจประเมินผู้ประกอบการที่ต้องการส่งสินค้าของตนเองให้กับองค์กรค้าปลีกในราชอาณาจักรที่ใช้ตราสินค้าของตน
AS/EN 9100:2016
Aerospace Sector Quality Management System
มาตรฐานการพัฒนาระบบบริหารคุณภาพสำหรับอากาศยาน มีลักษณะคล้ายกันกับมาตรฐานระบบคุณภาพเฉพาะอุตสาหกรรมอื่นๆ อาทิมาตรฐาน IATF 16949 โดยมีวัตถุประสงค์ในการสร้างมาตรฐานทางด้านระบบบริหารคุณภาพสำหรับอุตสาหกรรมอากาศยาน
ISO 22301:2019
Business Continuity Management System
ระบบการบริหารจัดการความต่อเนื่องทางธุรกิจ เป็นมาตรฐานที่เน้นสำหรับองค์กรที่มีสภาพแวดล้อมความเสี่ยงสูง เมื่อมีเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นกับองค์กร ไม่ว่าจะทางสภาพแวดล้อม หรือภัยธรรมชาติ ดังเช่น ไฟไหม้, ตึกถล่ม, คนงานสไตรค์ ฯลฯ มาตรฐานนี้จะช่วยให้องค์กรมีประสิทธิภาพ และความสามารถให้พนักงานสามารถกลับมาปฏิบัติงานภายในองค์กรได้อย่างปกติ
ISO 26000:2010
Social Responsibility System
มาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม เนื่องจากในปัจจุบันนี้หลายๆ องค์กรได้เริ่มให้ความสนใจในเรื่องของผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งในเรื่องดังกล่าวนั่นก็คือ มาตรฐาน ISO 26000 ที่องค์กรทุกประเภท ทุกขนาด และส่วนภาคของสังคม สามารถนำแนวทางหรือข้อกำหนดของมาตรฐานนี้ไปประยุกต์ใช้ได้โดยไม่มีข้อจำกัด
ISO 39001:2012
Road Traffic Safety Management System
ระบบการจัดการความปลอดภัยทางถนน เพื่อให้องค์กรที่เกี่ยวข้องกับระบบการจราจรทางถนนลดการสูญเสียที่อาจเกิดขึ้น ทั้งจากชีวิตและทรัพย์สินจากอุบัติเหตุการชนทางถนนโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อปรับปรุงผลการดำเนินงานความปลอดภัยด้านจราจรทางถนนและเพื่อรับรองตัวเองในความสอดคล้องกับนโยบายความปลอดภัยด้านจราจรทางถนน
ISO 22716:2007
ระบบการปฏิบัติการที่ดีในการผลิตเครื่องสำอาง GMP
Cosmetics - Good Manufacturing Practices (GMP) ISO 22716:2007 เป็นมาตรฐานการบริหารจัดการสำหรับผู้ผลิตเครื่องสำอางที่สอดคล้องกับแนวทาง GMP (Good Manufacturing Practice)
ISO 29993:2017
Learning services outside formal education
สำหรับผู้ให้บริการด้านการเรียนรู้ Learning Services Outside Formal Education เป็นข้อกำหนดสำหรับบริการด้านการเรียนรู้นอกเหนือจากการศึกษาอย่างเป็นทางการ รวมทั้งการเรียนรู้ตลอดชีวิต อีกด้วย
HALAL
Standard GMP/HACCP
มาตรฐานฮาลาล Halal Standard GMP/HACCP - Food Safety For Halal